1.5 ลักษณะทางสังคม

1.5 ลักษณะทางสังคม
1.5.1 แรงงาน
      ผู้สมัครงาน ตำแหน่งงานว่าง และการบรรจุงาน สถานการณ์แรงงานในจังหวัดยโสธร ในห้วงปี 2557 – 2561 จากข้อมูลการให้บริการจัดหางาน ในปี 2561 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560 พบว่านายจ้าง/สถานประกอบการมีความต้องการแรงงานลดลงร้อยละ 60.27 (2,197) มีผู้สมัครงานลดลงร้อยละ 31.11 (652) และมีงานทำลดลงร้อยละ 37.95(921) สำหรับข้อมูลบรรจุงานในปี 2560 และปี 2561 ที่มียอดบรรจุมากกว่าผู้สมัครงานเนื่องจากผู้สมัครยังไม่ได้บรรจุงานในปี 2559 ได้รับการบรรจุในปี 2560 และมีผู้สมัครงานในปี 2560 ได้มาบรรจุงานในปี2561ทำให้ข้อมูลบรรจุงานมากกว่าข้อมูลผู้สมัครงานสำหรับปัญหาการว่างงานในจังหวัดยโสธร เป็นการว่างงานตามฤดูกาล การว่างงานแอบแฝงนอกจากนี้ปัจจุบันคนรุ่นใหม่ Gen Y จะเป็นการทำงานในสถานประกอบการมีนายจ้างลดลงแต่การประกอบอาชีพอิสระเพิ่มขึ้น ในลักษณะฟรีแลนซ์ (Freelance) รับจ้างอิสระมากขึ้นลักษณะจะเป็นงาน Part time งานชั่วคราว และเป็นการประกอบธุรกิจแบบ Start Up เพิ่มขึ้น


          สถิติตำแหน่งงาน ผู้สมัครงาน และบรรจุงาน จังหวัดยโสธร ปี 2557 – 2562

ปี

ตำแหน่งงาน

ผู้สมัครงาน

บรรจุงาน

คิดเป็นร้อยละ

2557

2,196

2,592

1,901

73.34

2558

2,459

2,879

2,147

74.57

2559

3,529

2,231

2,641

118.37

2560

3,645

2,096

2,427

115.75

2561

1,448

1,444

1,506

53.84

2562 (ม.ค. – ก.ย.)

1,834

1,999

1,722

79.17

                                                      ที่มา : สำนักงานสถิติจังหวัดยโสธร สำนักงานจัดหาจังหวัดยโสธร และสำนักงานแรงงานจังหวัดยโสธร
           อัตราการมีงานทำ ปี 2556-2562

 

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

ปี 2560

ปี 2561

ปี 2562
(ม.ค.-ก.ย.)

ร้อยละ

99.16

99.47

99.13

99.28

99.69

97.90

73.08

                         ที่มา : สำนักงานสถิติจังหวัดยโสธร สำนักงานจัดหาจังหวัดยโสธร และสำนักงานแรงงานจังหวัดยโสธร

1.5.2 การประกันตนในระบบประกันสังคม ข้อมูลตั้งแต่ปี 2558 จังหวัดยโสธรมีจำนวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูลปี 2558-2561 มีจำนวนผู้ประกันตนมาตรา 33, 39 และ 40 รวมจำนวน 32,661 คน,2,889 คน, 35,947 คน, 40,082 คน ตามลำดับ ขณะที่ปี 2562 ข้อมูล ณ พฤศจิกายน 2562 มีจำนวน 42,164 คน


           จำนวนผู้ประกันตนในระบบประกันสังคม


ปี

ผู้ประกันตน

มาตรา 33

มาตรา 39

มาตรา 40

รวม

2554

12,307

1,557

3,389

19,807

2555

12,195

1,857

10,342

26,949

2556

12,339

1,999

13,264

27,602

2557

12,821

2,074

18,137

33,032

2558

13,708

2,146

16,807

32,661

2559

13,750

2,332

16,807

32,889

2560

14,620

2,571

18,756

35,947

2561

14,875

3,088

22,119

40,082

2562
ข้อมูล ณ พ.ย. 62

14,920

3,282

23,962

42,164

   ที่มา : สำนักงานประกันสังคมจังหวัดยโสธร

 1.5.3 ผู้ด้อยโอกาสและผู้พิการ จากข้อมูลการสำรวจข้อมูลผู้ด้อยโอกาสของจังหวัดยโสธรพบว่า มีจำนวนที่พบสูงขึ้นต่อเนื่องจากปี 2557-2562 และมีจำนวนลดลงในปี 2560


ผู้ด้อยโอกาสและ
ผู้พิการ (คน)

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

ปี 2560

ปี 2561

ปี 2562

764

1,553

2,032

1,816

1,116

6,436

ที่มา : สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดยโสธร

1.5.4 สาธารณสุข                     
       
1) โรงพยาบาล แพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์ ในปี 2562 จังหวัดยโสธร มีโรงพยาบาลของรัฐ จำนวน 9 แห่งแยกเป็นโรงพยาบาลระดับจังหวัด 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนระดับอำเภอ 8 แห่ง มีเตียงรวม 720 เตียง มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 112 แห่ง และคลินิกทุกประเภท 134 แห่ง นอกจากนี้ ยังมีโรงพยาบาลของเอกชน 2 แห่ง (110 เตียง)


พ.ศ.

รพ.จังหวัด/อำเภอ
(แห่ง)

รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล
(แห่ง)

คลินิก
ทุกประเภท
(แห่ง)

แพทย์
(คน)

ทันตแพทย์
(คน)

พยาบาล (คน)

เตียง
(เตียง)

ผู้ป่วยนอกของ รพ.จังหวัด/อำเภอ
(ครั้ง)

2556

9

112

92

88

38

734

650

987,841

2557

9

112

92

80

38

753

650

980,342

2558

9

112

100

85

35

586

650

1,109,304

2559

9

112

111

106

34

820

650

1,094,042

2560

9

112

111

106

34

820

650

1,160,834

2561

9

112

134

95

45

928

720

1,109,304

2562

9

112

134

95

45

928

720

1,109,304

          ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธi

อำเภอ

โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบล (แห่ง)

โรงพยาบาล

ประเภทคลินิก

แห่ง

จำนวนเตียง

เวชกรรม

เวชกรรม
เฉพาะทาง

การพยาบาล
และผดุงครรภ์

ทันต
กรรม

แพทย์
แผนไทย

แพทย์
แผนไทย
ประยุกต์

กาย
ภาพ
บำบัด

เทคนิค
การ
แพทย์

อื่นๆ
(แพทย์แผนจีน)

รวม

เมืองยโสธร

21

1

370

15

24

11

12

1

-

2

2

1

70

ทรายมูล

9

1

30

0

-

10

-

0

-

-

-

-

10

กุดชุม

13

1

30

3

2

4

1

1

-

-

-

-

11

คำเขื่อนแก้ว

16

1

60

3

1

7

1

1

-

-

-

-

13

ป่าติ้ว

7

1

30

1

-

2

-

-

-

-

-

-

3

มหาชนะชัย

16

1

30

2

1

4

1

-

-

-

-

-

8

ค้อวัง

6

1

30

1

-

1

-

-

-

-

-

-

2

เลิงนกทา

18

1

120

2

2

6

3

1

-

-

1

-

15

ไทยเจริญ

6

1

20

-

-

5

-

-

-

-

-

-

5

รวม

112

9

720

27

30

50

18

4

-

2

3

1

137

                      ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร (ข้อมูล ณ มกราคม ๒๕๖2)
1.5.5
 การศึกษา
                     1) จำนวนสถานศึกษาทุกสังกัด จังหวัดยโสธรมีสถานศึกษาในปี พ.ศ. 2562 รวมทั้งสิ้น 723 แห่ง แบ่งเป็นดังนี้


ลำดับ

สังกัด/อยู่ในกำกับดูแล

จำนวน

ตั้งอยู่ในพื้นที่ (อำเภอ)

เมือง

คำเขื่อนแก้ว

มหาชนะชัย

ค้อวัง

ป่าติ้ว

ทรายมูล

กุดชุม

ไทยเจริญ

เลิงนกทา

1

สนง.เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1

192

74

49

49

20

-

-

-

-

-

2

สนง.เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2

187

-

-

-

-

30

24

49

24

60

3

สนง.เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

27

5

4

2

1

2

2

4

2

5

4

สนง.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยจังหวัดยโสธร

9

1

1

1

1

1

1

1

1

1

5

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

2

2

-

-

-

-

-

-

-

-

6

สนง.คณะกรรมการอาชีวศึกษาจังหวัดยโสธร

10

3

-

2

-

-

1

2

-

2

7

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

19

7

2

1

1

-

-

1

4

3

8

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

271

62

32

32

14

27

14

29

17

44

9

สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ :
ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดยโสธร

1

1

-

-

-

-

-

-

-

-

10

สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ :
โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์

1

-

1

-

-

-

-

-

-

-

11

กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน

1

-

-

-

-

-

-

-

-

1

12

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

3

1

-

-

-

-

1

-

-

1

 

รวม

723

156

89

87

37

60

43

86

48

117

     หมายเหตุ : รวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  ที่มา : สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดยโสธร

1.5.6 วิถีชีวิต
                  จังหวัดยโสธรเป็นเมืองที่ประชากรโดยทั่วไปสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างสงบสุข มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีอาชีพ มีรายได้เพียงพอสำหรับการดำรงชีพและการดำเนินชีวิตจะเกี่ยวข้องกับศาสนา ความเชื่อ และวิถีชีวิตของชาวยโสธร โดยการดำเนินชีวิตของประชาชนจะดำรงตนตามแบบวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามมีภูมิคุ้มกันทางสังคม สามารถปรับตัวได้อย่างผสมกลมกลืนกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในยุคปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีศิลปวัฒนธรรมประเพณี และสินค้าของดีที่สร้างสรรค์มาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น หมอนขิด เครื่องจักสาน เครื่องทองเหลือง ข้าวหอมมะลิอินทรีย์     ผ้าไหม ผ้าฝ้าย และสินค้าอื่นๆ ที่เกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้าน ซึ่งสิ่งสรรค์สร้างเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เกิดจากการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นสามารถสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้เกิดกับคนในชุมชนซึ่งถือว่าเป็นการดำรงชีวิตแบบวิถีอีสานภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.5.7 ศาสนา
1) พระพุทธศาสนา จังหวัดยโสธรมีวัด/สำนักสงฆ์ ๖6๐ แห่ง ที่พักสงฆ์ ๑52 แห่ง พระสงฆ์ 2,174 รูปมีผู้นับถือศาสนาพุทธจำนวน ๕๓๗,748 คน คิดร้อยละ 99.66 ของประชากรจังหวัด(ข้อมูล ณ 20 ธันวาคม ๒๕๖2)


ที่

พ.ศ.

จำนวนวัด/
สำนักสงฆ์ (แห่ง)

ที่พักสงฆ์
(แห่ง)

วัดร้าง
(แห่ง)

พระสงฆ์
(รูป)

จำนวนพุทธศาสนิก(คน)

1

2553

600

227

70

3,241

537,531

2

2554

601

226

70

3,099

537,128

3

2555

605

222

70

3,091

537,300

4

2556

622

222

70

3,225

538,500

5

2557

627

222

70

2,085

537,315

6

2558

637

178

54

2,586

537,171

7

2559

640

164

56

3,280

537,171

8

2560

650

162

56

3,084

537,540

9

2561

650

162

56

2,493

537,664

    10

2562

660

152

56

2,174

537,748

          ที่มา : สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดยโสธร

                   2) ศาสนาอื่น ๆ ศาสนาคริสต์มีโบสถ์คริสต์ 28 แห่ง และศาสนาอิสลามมัสยิด 1 แห่ง
1.5.7 วัฒนธรรมประเพณี จังหวัดยโสธรมีวัฒนธรรมประเพณีแบบชาวอีสาน โดยมีงานประเพณีบั้งไฟเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดยโสธร เป็นงานระดับนานาชาติ ในเขตเทศบาลเมืองยโสธร จัดในวันศุกร์-เสาร์-อาทิตย์ สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนพฤษภาคมทุกปี งานแห่มาลัยข้าวตอกจัดในวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 3 ก่อนวันมาฆะบูชาหนึ่งวันของทุกปีงานประเพณีบุญคูณลาน งานประเพณีจุดไฟตูมกาคืนวันออกพรรษา งานนมัสการพระธาตุพระอานนท์ งานนมัสการพระธาตุกู่จานและงานประเพณีที่น่าสนใจที่จัดขึ้นตามฮีตสิบสอง


                  ประเพณีตามฮีตสิบสอง

เดือน

เทศกาลประเพณี

สถานที่จัดกิจกรรมที่โดดเด่น

มกราคม

1.ประเพณีบุญคูณลาน
2.ประเพณีบุญกุ้มข้าวใหญ่

- ที่ว่าการอำเภอเลิงนกทา
- ที่ว่าการอำเภอกุดชุม

กุมภาพันธ์

1. ประเพณีบุญข้าวจี่
2. ประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก

- ที่ว่าการอำเภอทรายมูล
- ที่ว่าการอำเภอมหาชนะชัย

มีนาคม

ประเพณีบุญผะเหวดฟังเทศน์มหาชาติ

บ้านฟ้าห่วน อำเภอค้อวัง

เมษายน

ประเพณีสงกรานต์

อำเภอเมืองยโสธร และทุกอำเภอ

พฤษภาคม

ประเพณีบุญบั้งไฟ

อำเภอเมืองยโสธร และทุกอำเภอ

มิถุนายน

ประเพณีบุญเบิกบ้าน

บ้านโนนใหญ่  อำเภอกุดชุม

กรกฎาคม

ประเพณีบุญเข้าพรรษา

บ้านสร้างแป้น  อำเภอมหาชนะชัย

สิงหาคม

ประเพณีบุญข้าวประดับดิน

บ้านโพธิ์ไทร  อำเภอป่าติ้ว

กันยายน

ประเพณีบุญข้าวสาก

ทุกอำเภอ

ตุลาคม

 ประเพณีการจุดไฟตูมกาช่วงเทศกาลออกพรรษา

ที่ว่าการอำเภอเมืองยโสธร , บ้านทุ่งแต้

พฤศจิกายน

1. ประเพณีบุญกฐิน
2. ประเพณีลอยกระทง
3. ประเพณีแข่งเรือ

- อำเภอเมืองยโสธร
- อำเภอเมืองยโสธร
- อำเภอเมืองยโสธร, อำเภอมหาชนะชัย
อำเภอค้อวัง

ธันวาคม

1.ประเพณีบุญปริวาสกรรม

2.งานประเพณีแห่ดาวเทศกาลคริสต์มาส 

-บ้านนาเวียง ตำบลกู่จาน อำเภอคำเขื่อนแก้ว
-วัดอัครเทวดามีคาแอลซ่งแย้
ตำบลคำเตย  อำเภอไทยเจริญ

1.5.8 เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญและมีชื่อเสียงของจังหวัด
                           1) ด้านหัตถกรรม/ช่างฝีมือ

ที่

รายการ

ตำบล

อำเภอ

1

การแกะลายบั้งไฟ  บ้านสิงห์ท่า

ในเมือง

เมืองยโสธร

2

การจักสานบ้านทุ่งแต้

ทุ่งแต้

เมืองยโสธร

3

การทำเครื่องทองเหลืองบ้านนาสะไมย์

นาสะไมย์

เมืองยโสธร

4

การแกะสลักบานประตู บ้านนาสะไมย์

นาสะไมย์

เมืองยโสธร

5

การทำเกวียนโบราณ บ้านนาสะไมย์

นาสะไมย์

เมืองยโสธร

6

การปั้นหม้อดิน

น้ำคำ

เมืองยโสธร

7

การทำผ้าฝ้าย ผ้าไหมบ้านดอนยาง

ค้อเหนือ

เมืองยโสธร

8

การทำจักรสานกระติบข้าวบ้านทุ่งอีโอก

ตำบลทุ่งนางโอก

เมืองยโสธร

9

การทอผ้าไหมพื้นเมือง บ้านหัวเมือง

หัวเมือง

มหาชนะชัย

10

การทำของที่ระลึกมาลัยข้าวตอก

ฟ้าหยาด

มหาชนะชัย

11

การทำผ้าฝ้าย ผ้าไหม พื้นเมืองบ้านบึงแก

บึงแก

มหาชนะชัย

12

การทำเสือกกแปรรูปบ้านสร้างแป้น

สงยาง

มหาชนะชัย

13

การทำผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าขาวม้าลายตาม่อง

สวาท

เลิงนกทา

14

การทอผ้าพื้นเมือง  บ้านห้องแซง

ห้องแซง

เลิงนกทา

15

การทอผ้าฝ้ายพื้นเมือง บ้านกุดแข้ด่อน

กุดเชียงหมี

เลิงนกทา

16

การทำไม้กวาดดอกหญ้า

คำเตย

ไทยเจริญ

17

การทำผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติบ้านนาเฮือง

น้ำคำ

ไทยเจริญ

18

การทำเสือกกแปรรูปกระเป๋า บ้านโนนแดง

ส้มผ่อ

ไทยเจริญ

19

การทำของที่ระลึกดาวบ้านซงแย้

คำเตย

ไทยเจริญ

20

การทำเสือกกแปรรูปบ้านนาโปร่ง

ทรายมูล

ทรายมูล

21

การทอผ้าพื้นเมืองบ้านนาเวียง

นาเวียง

ทรายมูล

22

การทำบั้งไฟโบราณบ้านฟ้าห่วน

ฟ้าห่วน

ค้อวัง

23

การทำผ้าไหมย้อมสีธรรมชาติบ้านน้ำอ้อม

น้ำอ้อม

ค้อวัง

24

การทำบั้งไฟโบราณบ้านโนนใหญ่

ห้วยแก้ง

กุดชุม

25

การทอผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ บ้านโคกสวาท

นาโส่

กุดชุม

26

การทำหมอนขวานผ้าขิด บ้านศรีฐาน

ศรีฐาน

ป่าติ้ว

27

การทำผ้าฝ้ายพื้นเมือง บ้านศรีฐาน

ศรีฐาน

ป่าติ้ว

                                2) ด้านอาหาร

ที่

รายการ

ตำบล

อำเภอ

1

การทำปลาส้ม

ในเมือง

เมืองยโสธร

2

การทำลอดช่อง

ในเมือง

เมืองยโสธร

3

การทำไข่มดแดงอัดกระป๋อง

ค้อเหนือ

เมืองยโสธร

4

การทำข้าวกาบาเพื่อสุขภาพ

เขื่องคำ

เมืองยโสธร

5

ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ปลอดสารพิษ

น้ำอ้อม

ค้อวัง

6

แปรรูปผลิตภัณฑ์จากถั่วลิสง

ฟ้าห่วน

ค้อวัง

7

ยาสมุนไพรพื้นบ้านบ้านท่าลาด

นาโส่

กุดชุม

8

เนื้อโคขุนบ้านหนองแหน

หนองแหน

กุดชุม

9

ไก่ย่างบ้านแคน

ดงแคนใหญ่

คำเขื่อนแก้ว

10

การทำข้าวหอมมะลิอินทรีย์ปลอดสารพิษ

บากเรือ

มหาชนะชัย

11

การทำปลาร้าแปรรูปบ้านเชียงเพ็ง

เชียงเพ็ง

ป่าติ้ว

12

แตงโมหวานบ้านกระจาย

กระจาย

ป่าติ้ว

                              3) ด้านศิลปะการแสดงและดนตรี   

ที่

รายการ

ตำบล

อำเภอ

1

การแสดงหมอลำเพลินบ้านหนองเลิง

แคนน้อย

คำเขื่อนแก้ว

2

การแสดงหนังประโมทัย

โพนทัน

คำเขื่อนแก้ว

3

การแสดงหมอลำเพลินบ้านคำเตย

คำเตย

ไทยเจริญ

4

การแสดงรำวงย้อนยุค

ศรีฐาน

ป่าติ้ว

5

การแสดงกลองยาวสายน้ำทิพย์
บ้านกลางสระเกษ

โพธิ์ไทร

ป่าติ้ว

6

การแสดงรำวงย้อนยุค “สันติสุขโชว์”

ค้อวัง

ค้อวัง

7

การฟ้อนกลองตุ้มบ้านฟ้าห่วน

ฟ้าห่วน

ค้อวัง

8

การแสดงของชนเผ่าภูไทบ้านห้องแซง

ห้องแซง

เลิงนกทา

9

การแสดงวงโปงลางเพชรภูดิน
(โรงเรียนเลิงนกทา)

สามแยก

เลิงนกทา

10

การแสดงกั๊บแก้บ

สำราญ

เมืองยโสธร

11

การแสดงกลองยาวขั้นไดใหญ่ (เยาวชน)

ในเมือง

เมืองยโสธร

12

การแสดงหนังประโมทัย บ.บันเทิงศิลป์

ไผ่

ทรายมูล

13

การแสดงวงดนตรีลูกทุ่งร.ร.ทรายมูล

ทรายมูล

ทรายมูล

14

การแสดงกลองยาวชัยพฤกษ์

สงยาง

มหาชนะชัย

15

การแสดงวงโปงลางพระเรืองไชยชำนะ
(โรงเรียนมหาชนะชัยพิทยาคม)

ฟ้าหยาด

มหาชนะชัย

                             
                           4) ด้านโบราณสถาน (ข้อมูลจากกรมศิลปากร) 
แยกเป็นรายอำเภอ โบราณสถาน และโบราณวัตถุศิลปะวัตถุ(ข้อมูลจากสำนักศิลปากรที่ 9 อุบลราชธานี)
แยกเป็นโบราณสถานได้รับประกาศขึ้นทะเบียนในราชกิจจานุเบกษา จำนวน 14 แห่ง

ที่

ชื่อโบราณสถาน

ที่ตั้ง

สิ่งสำคัญ

บ้าน

ตำบล

อำเภอ

1

ธาตุถาดทอง (ธาตุก่อง
ข้าวน้อย บ้านตาลทอง)

ตาดทอง

ตาดทอง

เมือง

1. ธาตุ ก่ออิฐถือปูน
2. ใบเสมาหินทราย

2

วัดทุ่งสะเดา (ธาตุลูกฆ่าแม่ หรือธาตุก่องข้าวน้อย)

สะเดา

ตาดทอง

เมือง

ธาตุ ก่ออิฐถือปูน

3

วัดมหาธาตุ

-

ในเมือง

เมือง

1.หอไตร
2.พระธาตุพระอานนท์

4

เสาหิน

บึงแก

บึงแก

มหาชนะชัย

ศิลาจารึก

5

วัดพระพุทธบาท

หนองยาง

หัวเมือง

มหาชนะชัย

1.รอยพระพุทธบาท
2.ศิลาจารึก
3.พระพุทธรุปนาคปรก

6

ดงเมืองเตย

สงเปือย

สงเปือย

คำเขื่อนแก้ว

1.ฐานโบราณสถาน
2.ศิลาจารึก

7

ดงศิลาแลงใกล้บ้านศรีฐาน

-

กระจาย

ป่าติ้ว

ใบเสมาศิลาแลง

8

กู่บ้านงิ้ว

งิ้ว

กู่จาน

คำเขื่อนแก้ว

1.ฐานโบราณสถานก่อด้วยศิลาแลง

9

วัดสุริโย (วัดกำแมด)

กำแมด

กำแมด

กุดชุม

สิม (โบสถ์)

10

วัดบูรพาโนนเปือย

โนนเปือย

โนนเปือย

กุดชุม

สิม (โบสถ์)

11

วัดธาตุทอง

เกี้ยงเก่า

โพนงาม

กุดชุม

พระธาตุ 2 องค์

12

วัดสระไตรนุรักษ์

นาเวียง

นาเวียง

ทรายมูล

หอไตรกลางสระน้ำ

13

วัดธรรมรังษีนิคมเขต

นากอก

บุ่งค้า

เลิงนกทา

สิม (โบสถ์)

14

เจดีย์วัดสิงห์ท่า

สิงห์ท่า

ในเมือง

เมือง

เจดีย์

                   
                  5) ผลิตภัณฑ์ศูนย์บันดาลไทย :
 พัฒนาต่อยอดจากผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมไทย (CPOT) และผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมจากชุมชนคุณธรรม จังหวัดยโสธร ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2561  จำนวน 21 รายการ 

ลำดับ

อำเภอ

ชื่อผลิตภัณฑ์

1

อำเภอเมืองยโสธร

1.ผลิตภัณฑ์กะติบข้าวชุมชนคุณธรรมวัดทุ่งอีโอก
2.ผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายมัดหมี่ ผ้าไหมทอมือบ้านดอนยาง

2

อำเภอไทยเจริญ

1.ผลิตภัณฑ์กลุ่มทอผ้าฝ้ายมัดหมี่บ้านนาเฮือง
2.ผลิตภัณฑ์การเป๋าผ้าย้อมสีธรรมชาติแปรรูป
ของชุมชนคุณธรรมวัดอัครเทวดามีคาแอลซ่งแย้

3

อำเภอค้อวัง

1.ผลิตภัณฑ์เสื่อกกไหล ชุมชนคุณธรรมวัดเหล่าน้อย
2.ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมัดหมี่ ชุมชนคุณธรรมวัดชัยชนะ

4

อำเภอป่าติ้ว

1.ผลิตภัณฑ์เสื่อกก ชุมชนคุณธรรมวัดเชียงเพ็ง
2.ผลิตภัณฑ์ผ้าลายสิงห์ศรีฐาน ลายดอกบัว ลายสายฝัน ชุมชนคุณธรรมศรีฐานนอก

5

อำเภอมหาชนะชัย

1.ผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าพื้นเมือง ชุมชนคุณธรรมวัดโพธิกาญจนาราม
2.ผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นเมืองลายลูกหวาย ชุมชนคุณธรรมวัดโพธิกาญจนาราม
3.ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกมาลัยข้าวตอก ชุมชนคุณธรรมวัดฟ้าหยาด

6

อำเภอคำเขื่อนแก้ว

1.ผลิตภัณฑ์เสื่อกกกู่จาน ชุมชนคุณธรรมวัดกู่จาน
2.ผลิตภัณฑ์น้ำเนื้อในฝักคูณ ชุมชนคุณธรรมวัดดอนแก้ว
3.ผลิตภัณฑ์ข้าวโป่ง ชุมชนคุณธรรมวัดหนองเลิง

7

อำเภอกุดชุม

1.ผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ บ้านโคกสวาท ชุมชนคุณธรรมวัดท่าลาด
2.ผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรพื้นบ้าน ชุมชนคุณธรรมวัดท่าลาด

8

อำเภอทรายมูล

1.ผลิตภัณฑ์กระเป๋าจากเปลือกกล้วย ชุมชนคุณธรรมวัดนาโป่ง
2.ผลิตภัณฑ์หมวกจากเปลือกกล้วย ชุมชนคุณธรรมวัดนาโป่ง
3.ผลิตภัณฑ์กระเป๋าพญาคันคากจากไหล ชุมชนคุณธรรมวัดนาโป่ง

9

อำเภอเลิงนกทา

1.ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าขาวม้าลายตาม่อง ชุมชนคุณธรรมวัดศรีบุญเรือง
2.ผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นบ้าน บ้านกุดแข้ด่อน

               6) ภูมิปัญญาชาวบ้านที่สำคัญ ได้แก่

ที่    
 

รายการ

ตำบล

อำเภอ

1

การแกะลายบั้งไฟ  บ้านสิงห์ท่า

ในเมือง

เมืองยโสธร

2

การจักสานบ้านทุ่งแต้

ทุ่งแต้

เมืองยโสธร

3

การทำเครื่องทองเหลืองบ้านนาสะไมย์

นาสะไมย์

เมืองยโสธร

4

การแกะสลักบานประตู บ้านนาสะไมย์

นาสะไมย์

เมืองยโสธร

5

การทำเกวียนโบราณ บ้านนาสะไมย์

นาสะไมย์

เมืองยโสธร

6

การปั้นหม้อดิน

น้ำคำ

เมืองยโสธร

7

การทำผ้าฝ้าย ผ้าไหมบ้านดอนยาง

ค้อเหนือ

เมืองยโสธร

8

การทำจักรสานกระติบข้าวบ้านทุ่งอีโอก

ตำบลทุ่งนางโอก

เมืองยโสธร

9

การทอผ้าไหมพื้นเมือง บ้านหัวเมือง

หัวเมือง

มหาชนะชัย

10

การทำของที่ระลึกมาลัยข้าวตอก

ฟ้าหยาด

มหาชนะชัย

11

การทำผ้าฝ้าย ผ้าไหม พื้นเมืองบ้านบึงแก

บึงแก

มหาชนะชัย

12

การทำเสือกกแปรรูปบ้านสร้างแป้น

สงยาง

มหาชนะชัย

13

การทำผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าขาวม้าลายตาม่อง

สวาท

เลิงนกทา

14

การทอผ้าพื้นเมือง  บ้านห้องแซง

ห้องแซง

เลิงนกทา

15

การทอผ้าฝ้ายพื้นเมือง บ้านกุดแข้ด่อน

กุดเชียงหมี

เลิงนกทา

16

การทำไม้กวาดดอกหญ้า

คำเตย

ไทยเจริญ

17

การทำผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติบ้านนาเฮือง

น้ำคำ

ไทยเจริญ

18

การทำเสือกกแปรรูปกระเป๋า บ้านโนนแดง

ส้มผ่อ

ไทยเจริญ

19

การทำของที่ระลึกดาวบ้านซงแย้

คำเตย

ไทยเจริญ

20

การทำเสือกกแปรรูปบ้านนาโปร่ง

ทรายมูล

ทรายมูล

21

การทอผ้าพื้นเมืองบ้านนาเวียง

นาเวียง

ทรายมูล

22

การทำบั้งไฟโบราณบ้านฟ้าห่วน

ฟ้าห่วน

ค้อวัง

23

การทำผ้าไหมย้อมสีธรรมชาติบ้านน้ำอ้อม

น้ำอ้อม

ค้อวัง

24

การทำบั้งไฟโบราณบ้านโนนใหญ่

ห้วยแก้ง

กุดชุม

25

การทอผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ บ้านโคกสวาท

นาโส่

กุดชุม

26

การทำหมอนขวานผ้าขิด บ้านศรีฐาน

ศรีฐาน

ป่าติ้ว

27

การทำผ้าฝ้ายพื้นเมือง บ้านศรีฐาน

ศรีฐาน

ป่าติ้ว


1.5.9   ยาเสพติด

            สถานการณ์ยาเสพติดทั่วไปจังหวัดยโสธรมีลักษณะเป็นพื้นที่ทางผ่านและเส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงไปสู่พื้นที่ตอนในของประเทศโดยเป็นจังหวัดที่มีเส้นทางคมนาคมเชื่อมต่อกับจังหวัดต่างๆที่เป็นจังหวัดชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน การลักลอบลำเลียงยาเสพติดผ่านพื้นที่มีทั้งรถยนต์ส่วนตัว และรถโดยสารสาธารณะ ซึ่งยาเสพติดที่ระบาดในพื้นที่เป็นยาเสพติดที่นำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านและส่วนหนึ่งเป็น ยาเสพติดย้อนกลับจากกรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกล้เคียง แต่ภาพรวมสถานการณ์ยาเสพติดอยู่ในระดับเบาบาง – ปานกลาง พื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดมาก ได้แก่ อำเภอเมืองยโสธร อำเภอเลิงนกทา อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอกุดชุม ตามลำดับ  

1.5.10 อาชญากรรม
จังหวัดยโสธรมีปัญหาอาชญากรรม โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่มคดีอาญา
1) กลุ่มความผิดเกี่ยวกับชีวิตร่างการและเพศ
2) กลุ่มความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
3) กลุ่มฐานความผิดพิเศษ
4) กลุ่มความผิดที่รัฐเป็นผู้เสียหาย
โดยจังหวัดยโสธรมีสถิติคดีอาญาที่ได้รับแจ้งเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปี 2558 และจำนวนคดีอาญาที่มีการจับกุมก็มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2557   รายละเอียดดังนี้

สถิติข้อมูล

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

ปี 2560

จำนวนคดีอาญาที่ได้รับแจ้ง

4,008

1,369

1,341

1,472

1,468

จำนวนคดีอาญาที่มีการจับกุม

4,685

1,592

1,783

1,838

1,865



1.5.11 ด้านการหย่าร้าง 
ข้อมูลจากสำนักงานสถิติจังหวัดยโสธร พบว่า จังหวัดยโสธรมีสถิติการหย่าร้างเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากปี ๒๕๕๘ ถึง ปี ๒๕๖๐

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

ปี2560

640

609

609

647

681

 
1.5.12 สาธารณภัย

                      สถานการณ์สาธารณภัยของจังหวัดยโสธร มีทั้งที่เกิดจากธรรมชาติ ทั้งในฤดูกาลและนอกฤดูกาล ได้แก่ อุทกภัย ดินโคล่นถล่ม ภัยแล้ง พายุหมุนเขตร้อน ภัยหนาวไฟป่า และสาธารณภัยที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ ไฟป่า อัคคีภัย อุบัติเหตุ และสาธารณภัยที่เกิดขึ้นในช่วงเทศกาลต่าง ๆเช่น เทศกาลปีใหม่ สงกรานต์ ลอยกระทง เป็นต้น